MetaTOC stay on top of your field, easily

Reframing the Boundaries of Indigeneity: State‐Based Ontologies and Assertions of Distinction and Compatibility in Thailand

American Anthropologist / The American Anthropologist

Published online on

Abstract

In this article, I discuss the concept of Indigeneity as it is being localized in post‐2000s Thailand by a coalition of ethnic minorities. Their claim of Indigeneity is unique in purporting a state‐based ontology that identifies the rise of the modern Thai state with that of their Indigeneity, reflecting the problematic nature in Thailand of claims to first peoples’ status. The Thai state has long perceived of these yet‐to‐be‐recognized Indigenous Peoples as “illegal migrants.” Indigenous Peoples are working to assert not only their cultural distinctiveness but also their compatibility with the nation, especially via public performances of their loyalty to the Thai king. While their performances of Indigeneity are necessarily conforming to Thai nationalist expectations of ethnicity and belonging, Indigenous Peoples are reworking those expectations in a manner allowing them to get their own interpretations of history and systems of value recognized and distributed to larger audiences. [Indigeneity, performance, cunning of the unrecognized, royalist nationalism, Thailand] En este artículo, discuto el concepto de indigeneidad como ha sido localizado en la Tailandia posterior al 2000 por una coalición de minorías étnicas. Su reclamación de indigeneidad es única en implicar una ontología basada en el estado que identifica el crecimiento del estado moderno tailandés con aquel de su indigeneidad, reflejando la naturaleza problemática en Tailandia de las reclamaciones al estatus de los Primeros Pueblos. El estado tailandés ha percibido por largo tiempo a estos pueblos indígenas aún a‐ser‐reconocidos como “migrantes ilegales”. Los pueblos indígenas han trabajado para afirmar no sólo su unicidad cultural pero también su compatibilidad con la nación, especialmente a través de presentaciones públicas de su lealtad al rey tailandés. Mientras sus presentaciones de indigeneidad se han necesariamente conformado con las expectativas nacionalistas tailandesas de etnicidad y pertenencia, los indígenas han retrabajado esas expectativas de una manera que les permite lograr sus propias interpretaciones de la historia y los sistemas de valor reconocidos y distribuidos a audiencias mayores. [indigeneidad, presentación, lo artificioso de lo no reconocido, nacionalismo monárquico, Tailandia] บทความฉบับนี้ผู้เขียนอภิปรายถึงแนวคิดของความเป็นชนเผ่าพื้นเมือง ซึ่งเครือข่ายกลุ่มชาติพันธุ์ส่วนน้อยกลุ่มหนึ่งได้นำมาใช้ในประเทศไทยตั้งแต่ทศวรรษที่ 2000 ชนเผ่าพื้นเมืองเหล่านี้เรียกร้องความเป็นชนเผ่าพื้นเมืองโดยอ้างว่า ความเป็นชนเผ่าพื้นเมืองของเขาเกิดขึ้นพร้อมกับการเกิดขึ้นของรัฐไทย เป็นการเรียกร้องอย่างมีลักษณะเฉพาะ ซึ่งสะท้อนถึงปัญหาการเรียกร้องถึงความเป็นชนดั้งเดิมในประเทศไทย ทัศนคติของรัฐไทยต่อกลุ่มเหล่านี้มีมาอย่างยาวนานซึ่งไม่เคยยอมว่าพวกเขาเป็นชนเผ่าพื้นเมือง แต่เป็นเพียงชาวต่างด้าวที่เข้ามาอยู่ในประเทศไทยโดยผิดกฎหมาย ชนเผ่าพื้นเมืองเหล่านี้ไม่เพียงแต่แสดงออกถึงความเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของเผ่าตัวเองเท่านั้น แต่ยังพยายามแสดงออกถึงความสอดคล้องเข้ากันได้กับชาติอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งผ่านการแสดงออกในที่สาธารณะถึงความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ไทย ในขณะที่การแสดงออกถึงความเป็นชนเผ่าพื้นเมืองของกลุ่มเหล่านี้ใด้พยายามทำให้สอดคล้องกับความคาดหวังของลัทธิชาตินิยมไทยที่มีต่อชาติพันธุ์และความเป็นส่วนหนึ่งของชาติ แต่ชนเผ่าพื้นเมืองเหล่านี้ก็ได้ปรับเปลี่ยนความคาดหวังดังกล่าวในทางที่จะทำให้พวกเขาสามารถบอกเล่าและทำให้สังคมยอมรับประวัติศาสตร์และชุดคุณค่าของกลุ่มตนในแบบของตนได้ในขณะเดียวกันด้วย [ความเป็นชนเผ่าพื้นเมือง, การแสดง, กลยุทธ์ของกลุ่มคนที่ยังไม่ได้รับการยอมรับ, ราชาชาตินิยม, ประเทศไทย]